Category Archives: ความรู้จากงานวิจัย
การพัฒนาพันธุ์พืชสมุนไพรวงศ์ขิงโดยการเหนี่ยวนำให้กลายพันธุ์เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต
เป็นเวลาหลายศตวรรษที่มนุษย์ใช้พืชขิงเพื่อประโยชน์มากมาย พืชเหล่านี้นิยมนำมาประกอบอาหารและใช้เป็นเครื่องเทศ เช่น ขิง (Zingiber …
การพัฒนากระบวนการหมักสมุนไพรเพื่อควบคุมโรคพืช
โรคและแมลงศัตรูพืชในภาคการเกษตรสร้างความเสียหายนับแสนล้านบาทต่อปี ประเทศไทยเป็นประเทศที่พึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยมีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารจำนวนมาก การใช้สารเคมีอันตรายทางการเกษตร เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายสูงและสร้างปัญหาหนี้สินให้กับเกษตรกร …
แพลตฟอร์มการจัดการน้ำชุมชนเพื่อการเกษตรด้วยโมบายคลาวด์คอมพิวติง
การบริหารจัดการน้ำเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตภาคเกษตรตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (O2.7/KR2.7.4) กระบวนการผลิตทางการเกษตรพึ่งพาทรัพยากรน้ำเป็นอย่างมาก ทำให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องจัดสรรน้ำให้เพียงพอต่อการใช้ในทุกภาคส่วน เพื่อจัดการกับปัญหานี้ …
การพัฒนารูปแบบสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารด้วยนวัตกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลูกพืชและการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกำลังเผชิญกับความท้าทาย อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และความแปรปรวนทางธรรมชาติ ส่งผลให้องค์ประกอบของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ในประเทศไทย …
การศึกษาการพัฒนาการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ เพื่อการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งอย่างรุนแรงที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 56 ล้านไร่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบอย่างหนัก …
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการให้น้ำในกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวาย ด้วยการตัดสินใจบนข้อมูลพื้นฐานเพื่อการจัดการน้ำที่ยั่งยืน
การผลิตกล้วยไม้ถูกท้าทายจากปัญหาการจัดการน้ำ เนื่องจากขาดงานวิจัยที่สนับสนุนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความต้องการน้ำสำหรับการผลิตกล้วยไม้ที่แปรผันตามสภาพอากาศและฤดูกาล เกษตรกรยังคงอาศัยการตัดสินใจโดยอาศัยประสบการณ์เพื่อกำหนดเวลาและความถี่ในการให้น้ำ (experienced based …
การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบริหารจัดการน้ำเพื่อความยั่งยืน กรณีศึกษาลุ่มน้ำคลองสวนหมาก
ลุ่มน้ำคลองสวนหมากเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำปิงตอนล่าง มีเนื้อที่ 1,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ …
การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับการพยากรณ์ดัชนีความแห้งแล้ง และระบบสนับสนุนการตัดสินใจการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงใหม่
ภัยแล้งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถจัดได้ว่าเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติหากก่อให้เกิดผลกระทบและสร้างความเสียหายต่อมนุษย์หรือกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะในภาคเกษตรกรรม ในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ภาคการเกษตรมักจะได้รับผลกระทบจากภัยแล้งในช่วง 2 …
การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำหรับการพยากรณ์ภัยแล้งสุดขีดเชิงพื้นที่ในลุ่มน้ำชี เพื่อการบริหารจัดการน้ำสำหรับการเกษตรแม่นยำ
ภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ อาจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่ทำให้ปริมาณน้ำฝนไม่เพียงพอในบางฤดูกาลหรือฝนตกเป็นระยะซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ย นอกจากนี้ การกระจายของฝนที่ไม่สม่ำเสมอในภูมิภาคต่างๆ และการจัดการน้ำที่ไม่ดีสามารถนำไปสู่สภาวะภัยแล้งหรือขาดแคลนน้ำได้ …